พิมพ์หน้านี้ ส่งให้เพื่อน ตั้งเป็นหน้าแรก
ภาษาไทย
English
 
เข้าสู่ระบบผู้สมัคร
  ชื่อเข้าสู่ระบบ :
  รหัสผ่าน :
 
ผู้สมัครสมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
 
เข้าสู่ระบบนายจ้าง
  ชื่อเข้าสู่ระบบ :
  รหัสผ่าน :
 
นายจ้างสมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
 
Search
Google
ThaiHotelJob.com
 
สมาชิกรับข่าวสาร
ต้องการรับข่าวสารผ่านอีเมล์ กรุณากรอกอีเมล์ของท่านในช่อง แล้วกดปุ่มสมัครสมาชิก
 
ดาวน์โหลดข้อมูล
General Forms/Admin (Password: hoteljob)
Hotel Job Descriptions (Password: hoteljob)
Recruitment Forms (Password: hoteljob)
Payroll & Benefits
ร่าง พ.ร.บ.โรงแรม 2547
พ.ร.บ. โรงแรม 2478
MANPOWER PLANNING
 
นักศึกษา - หางานพิเศษ
ช่วงเดือนเมษายน

ทักษะและความสามารถพิเศษอื่นๆ • มีทักษะในงานแกะสลัก จัดดอกไม้ จับผ้าสเกิร์ต • การน าเสนอความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ผ่านการจัดจานอาหาร • ทักษะการติดต่อสื่อสารและความเป็นผู้น าที่ดี • ความสนใจในอาหารและการประกอบอาหารที่ หลากหลาย สวัสดิการ -มีที่พัก -อาหาร -ชุดยูนิฟอร์ม

มีที่พักให้ มีสวัสดิการต่างๆ เริ่มฝึกได้ เมษายน-กรกฏาคม 2562

สื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ใจรักบริการ ใช้คอมพิวเตอร์ได้ดี ติดต่อ 089-4444233

ต้องการสมัครงาน เป็นนักศึกษาฝึกงานในโรงแรม แผนก Front office and F&B

อยากได้ที่ฝึกงาน ฝึกประมาณ 2 เดือนครับ มีที่พัก และก็เงินเดือนให้ในระหว่างฝึกงานครับ

มีความประสงค์ที่จะฝึกงานโรงแรม ในช่วงเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพัธ์ ค่ะ

เนื่องจากโรงแรมหาดเทียน บีช รีสอร์ท (Haadtien Beach Resort) เป็นโรงแรมบนเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่บนหาดส่วนตัว 350 เมตร ทางตอนใต้ของเกาะและเป็นอ่าวธรรมชาติ มีจำนวนห้องพักทั้งหมด 144 ห้องโดยแบ่งเป็นห้องพัก 74 ห้อง และแบบวิลล่า 70 หลัง ซึ่งทางโรงแรมฯ มีนโยบายในการส่งเสริมนักศึกษาที่เรียนในสายการโรงแรมและที่พักเข้าฝึกงานในสายงานที่ได้เรียนรู้ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะและเพื่อนำไปใช้ในการทำงานที่มีคุณภาพต่อไปในในตำแหน่งดังต่อไปนี้ - Front Office - Food & Beverages - Housekeeping - Kitchen - Accounting นักศึกษาทุกท่านที่เข้ารับการฝึกงาน จะได้รับผลตอบแทนรายละเอียดดังนี้ 1. หนังสือ/ใบประกาศ จากทางรีสอร์ทเมื่อฝึกงานจบหลักสูตรของทางมหาวิทยาลัยกำหนด 2. ค่าเบี้ยเลี้ยง เดือนละ 3,500 บาท 3. อาหารฟรี 3 มื้อ 4. เครื่องแบบฟรี 3 ชุด (นักศึกษา ซัก-รีด เอง) 5. ห้องพัก ฟรี 6. ค่าไฟฟ้า ฟรี 7. ค่าน้ำประปา ฟรี 2,700 ลิตร/เดือน

My name is Rahma. I am a student of Rajamangala University in Bangkok. I am Indonesian.

สามารถเริ่มฝึกงานได้ตั้งแต่วันที่ 21 ธันวาคม 2558 จำนวน 540 ชั่วโมง

ประกาศทั้งหมด
 
ข่าวธุรกิจบริการ :

Job Vacancy for Private Residence "Chef" Urgent!!



Job Vacancy " CUSTODIAN "



Job Vacancy for Private Residence "Chef" Urgent



โรงแรมเปิดใหม่รับด่วนหลายอัตรา หาดกะตะ ภูเก็ต



เกาะจำ รีสอร์ท  เปิดรับสมัครงานด่วน 2 ตำแหน่ง



Siam@Siam Design Hotels Bangkok รับด่วนดังนี้



Siam@Siam Design Hotels Bangkok รับด่วน.!



The Pela Phuket



โรงแรมไฮแอท รีเจนซี่ หัวหิน และเดอะบาราย



โรงแรมรอยัล เมืองสมุย วิลล่า


ข่าวทั้งหมด
 
เกร็ดน่ารู้ - สาระงานบริการ

10. Ecole Hôtelière de Genève, Switzerland



8. Oxford Brookes University, United Kingdom



9. César Ritz Colleges, Le Bouveret, Brig – Switze



1. Ecole Hôtelière de Lausanne, Switzerland



2. Les Roches International



3. Glion Institute of Higher Education,



4. Cornell University, USA



5. Hotelschool The Hague, Netherlands



6. Les Roches International School of Hotel Managt



7. Hotel School Vatel, France


เกร็ดน่ารู้ - สาระงานบริการทั้งหมด
 
ข่าวสารโรงแรมและรีสอร์ท🎉🎉


“ซี.พี.แลนด์” ทุ่ม 4,000 ล้าน ตั้งเป้าโตดับเบิล ผุดโรงแรม 14
ข่าวทั้งหมด
 
ประกาศแต่งตั้งบุคคล


กลุ่มโรงแรมอนันตรา ประกาศแต่งตั้ง GM ใหม่ 3 แห่ง
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวฝึกอบรมงานธุรกิจบริการ


วิทยาลัยดุสิตธานี เปิดอบรมหลักสูตร การจัดการโรงแรม
ข่าวทั้งหมด
 
รางวัลธุรกิจบริการ


Congratulations to the Sukhothai Bangkok Hotel has
ข่าวทั้งหมด
 
โรงแรม รีสอร์ท เปิดใหม่


โรงแรมในเครือโกลว์แห่งใหม่ “โกลว์ กรุงเทพ ริเวอร์
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวงานโรงแรม ขอนแก่น ⚡⚡


The Cotton Tree Hometel Khonkaen
ข่าวทั้งหมด
 
โรงแรมรับสมัคร พนักงานรายวัน - Casual


ด่วนรับพนักงานเสิร์ฟรายวันจำนวนมาก
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวรับพนักงาน “คนพิการ“🤘🤘


The Westin รับพนักงานผู้พิการ
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวรับนักศึกษาฝึกงาน👨🎓


Carlton Hotel Bangkok Sukhumvit เปิดรับสมัครนักศึกษา
ข่าวทั้งหมด
นานาสาระสายการบิน สาระน่ารู้เรื่องเครื่องดื่ม
สาระการทำอาหาร โดย เชฟ เฟดเดอร์ริค สาระน่ารู้เรื่องอาหาร
วีดิทัศน์งานบริการ สาระความรู้สำหรับชาวการโรงแรมที่ควรรู้
สาระน่ารู้โรงแรมและรีสอร์ท สาระน่ารู้งานบริหารทรัพยากรบุคคล
อุทยานจังหวัดต่างๆ สาระน่ารู้ทั่วๆไป
10 อันดับ โรงเรียนการโรงแรมที่ดี ที่สุดในโลก สถานที่น่าเที่ยวในไทย
สาระน่ารู้เรื่องท่องเที่ยวและทัวร์ ข้อมูลท่องเที่ยวรอบโลก
www.thaihoteljob.com
คำถามสุดฮิตเกี่ยวกับ IDP -จากการสัมมนา [30/10/2552] 3314 ครั้งที่อ่าน
คำถามสุดฮิตเกี่ยวกับ IDP -จากการสัมมนา

 
 
 

คำถาม 1

การทำ IDP จำเป็นต้องทำกับพนักงานทุกคนในองค์การหรือไม่

คำตอบ 1

     อัน ที่จริงแล้วการทำ IDP สามารถทำได้กับพนักงานทุกคน หากหัวหน้างานรู้และเข้าใจแนวคิดของการพัฒนาบุคลากร ซึ่งหัวหน้างานสามารถดำเนินการเองโดยไม่ต้องรอให้ฝ่าย HR/HRDริเริ่มดำเนินการให้ อย่างไรก็ตามพบว่ามีหัวหน้างานน้อยมากที่สนใจและใส่ใจกับการทำ IDP อย่างจริงจัง ดังนั้นฝ่าย HR/HRD จึงต้องเป็นหน่วยงานเจ้าภาพหรือหน่วยงานหลักในการริเริ่มทำ IDP ขึ้นมา
     หากองค์การมีจำนวนพนักงานมาก แนวทางเลือกคือ เลือกกลุ่มพนักงานขึ้นมาจัดทำ IDP ก่อน ทั้งนี้เงื่อนไขหรือแนวทางเลือกขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ขององค์การแต่ละแห่ง เช่น ทำกับพนักงานดาวเด่น หรือคนเก่งและคนดี (Talented People) หรือทำกับกลุ่มผู้สืบทอดตำแหน่งงาน (Successors) หรือทำกับกลุ่มที่เป็นธุรกิจหลักขององค์การ (Core Business)

     อย่างไรก็ตาม หากองค์การมีจำนวนพนักงานไม่มากนักหรือผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจถึงแนว คิดและวิธีการจัดทำ IDP ให้กับพนักงาน ผู้เขียนเสนองแนะว่าควรทำ IDP กับพนักงานทุกคน โดยมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาโดยตรงเป็นผู้รับผิดชอบจัดทำ IDP ให้กับพนักงาน


คำถาม 2

กรณีที่ทำ IDP ให้กับพนักงานในปีนั้น ๆ แต่ไม่สามารถส่งพนักงานฝึกอบรมได้ครบถ้วน จะมีข้อดีและข้อเสียอย่างไร

คำตอบ 2

     พบ ว่าบ่อยครั้งที่หัวหน้างานมักคิดว่าการทำ IDP คือการฝึกอบรม โดยส่งพนักงานเข้ารับการฝึกอบรมในห้องเรียนตามแผนพัฒนาที่กำหนดขึ้น อันที่จริงแล้วการทำ IDP ยังมีเครื่องการพัฒนาอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการฝึกอบรมในห้องเรียน เช่น การสอนงาน การดูงานนอกสถานที่ การมอบหมายงาน การมอบหมายโครงการ  เป็นต้น ดังนั้นหากผู้บังคับบัญชาได้วางแผนการพัฒนาความสามารถของพนักงานด้วยวิธีการ ฝึกอบรมโดยเขียนไว้ใน IDP แล้ว แต่ไม่สามารถส่งพนักงานเข้าอบรมตามแผนที่กำหนดขึ้น พบว่าข้อดีก็คือ เป็นการจุดประกายให้หัวหน้างานตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาความสามารถของ พนักงานด้วยเครื่องมือการพัฒนาอื่น ๆ อีกที่นอกเหนือจากการอบรมในห้องเรียน  ข้อเสียคือ หากผู้บังคับบัญชาไม่ใส่ใจในการใช้เครื่องมือการพัฒนาอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการฝึกอบรมในห้องเรียน จะทำให้พนักงานขาดโอกาสในการพัฒนาตนเอง ดังนั้นฝ่าย HR/HRD จะต้องสื่อสารและทำความเข้าใจกับหัวหน้างานถึงการนำเครื่องมือการพัฒนาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่การฝึกอบรมมาใช้พัฒนาความสามารถของพนักงาน


คำถาม 3

ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการจัดทำ Action Plan ของการจัดทำ  IDP เป็นอย่างไร

คำตอบ 3

     การทำ IDP มีแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ดังนี้

  • จัดทำข้อเสนอ (Proposal) ในการนำแนวคิด IDP มาใช้ในการพัฒนาพนักงาน และนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงพิจารณาอนุมัติ
  • ภาย หลังผู้บริหารระดับสูงอนุมัติโครงการนำ IDP มาใช้แล้ว ขั้นตอนถัดมาคือการประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการในการกำหนดนโยบาย คำแนะนำ ติดตาม และให้ความคิดเห็นต่อการพัฒนาของพนักงาน
  • ฝ่าย HR/HRD ร่วมกับคณะกรรมการกำหนดแนวทางการจัดทำ IDP โดยพิจารณาถึงปัจจัยที่นำมาประเมิน ระยะเวลาในการจัดทำ IDP วิธีการประเมิน และเครื่องมือการพัฒนาความสามารถที่ต้องนำมาใช้
  • จัด ประชุมร่วมกับผู้บังคับบัญชา (รวมคณะกรรมการ) ถึงแนวทางการนำ IDP มาใช้ในองค์การ เพื่อให้ผู้บริหารมีความเข้าใจแนวคิด วิธีปฏิบัติ และประโยชน์ของ IDP
  • หัวหน้างานจัดทำ IDP ตามแผนวทางที่กำหนดขึ้นและนำส่งให้ฝ่าย HR/HRD เพื่อใช้ในการติดตามห้วหน้างานในการปฏิบัติตามแผนที่กำหนด ทั้งนี้ต้นสังกัดจะต้องเก็บตัวจริงไว้เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาตาม กรอบของ IDP ที่กำหนดขึ้น
  • หัวหน้างานพูดคุยผลประเมินและ IDP ที่จัดทำขึ้น  รวมทั้งปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดขึ้น
  • คณะ กรรมการติดตาม ประเมินและทบทวนแนวคิดการจัดทำ IDP พร้อมทั้งร่วมให้ความคิดเห็นในการปรับปรุงขั้นตอนการจัดทำ IDP ให้มีประสิทธิภาพและง่ายต่อการนำไปใช้มากขึ้น

คำถาม 4

ทำอย่างไรจะทำให้ผู้บริหารเห็นความสำคัญของ IDP

คำตอบ 4

     การ จัดทำ IDP ต้องกำหนดขึ้นเป็นนโยบายที่ผู้บริหารทุกคนจะต้องมีการจัดทำ IDP ขึ้นทุกปี ไม่ใช่ทำเฉพาะปีใดปีหนึ่ง ทั้งนี้องค์การจะต้องเป็นเจ้าภาพหรือผู้รับผิดชอบในการนำ IDP มาใช้ โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นฝ่าย HR/HRD ที่จะทำหน้าที่ผลักดันให้ผู้บริหารจัดทำ IDP ขึ้นมาทุกปี ทั้งนี้ ฝ่าย HR/HRD จะต้องหาผู้สนับสนุนร่วมด้วย นั่นก็คือ การให้ผู้บริหารของทุกหน่วยงานเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ IDP ซึ่งจะต้องประกาศอย่างเป็นทางการโดยมีผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์การประกาศ แต่งตั้งผู้บริหารที่เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ

     นอกจานี้การจัดทำแผนการสื่อสาร (Communication Plan) เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการลดแรงต่อต้านของผู้บริหาร  ฝ่าย HR/HRDจะต้องสื่อสารกับพนักงานทุกคนทุกระดับ ไม่ใช่เฉพาะแต่ผู้บริหารขององค์การเท่านั้น เพื่อให้พนักงานทุกคนเกิดความคิด ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ IDP (IDP Mindset) ทั้งนี้ช่องทางการสื่อสารเรื่อง IDP นั้นไม่ใช่จะมีแต่ช่องทางการจัดทำฝึกอบรมเท่านั้น ยังมีช่องทางอื่นอีกมากในการสื่อสารเพื่อให้ทุกคนมีความเข้าใจถึง IDP ที่ถูกต้อง เช่น บอร์ด วารสารภายใน อินทราเน็ตในบริษัท เสียงตามสาย เป็นต้น


คำถาม 5

พนักงานมีสิทธิ์รับรู้ IDP ของตนเองได้หรือไม่

คำตอบ 5

จำ เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสื่อสาร IDP ที่หัวหน้างานจัดทำขึ้นให้พนักงานรับรู้ โดยการแจ้งผลการประเมินความสามารถของพนักงานว่าความสามารถข้อใดเป็นจุดแข็ง หรือจุดอ่อนของพนักงานแต่ละคน ซึ่งหัวหน้างานจะต้องเลือกความสามารถข้อที่เป็นจุดอ่อนมาพัฒนาก่อน โดยการจัดทำ IDP เพื่อปรับปรุงและพัฒนาจุดอ่อนของพนักงาน  และหัวหน้างานจะต้องอธิบายแนวทางการพัฒนาให้พนักงานรับรู้ ทำให้พนักงานเกิดความมั่นใจว่าภายหลังจากการประเมินแล้ว งานหรือหน้าที่ที่หัวหน้าจะต้องทำต่อคือการดำเนินการพัฒนาตามกรอบหรือแนวทาง การพัฒนาที่กำหนดไว้ในแผนงาน


คำถาม 6

IDP มีการเชื่อมโยงและมีประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์การอย่างไร 

คำตอบ 6

เนื่อง จาก IDP เป็นแผนงานเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงาน  เป็นแผนงานที่พัฒนาจุดอ่อนของพนักงานแต่ละคน เมื่อพฤติกรรมการทำงานของพนักงานเปลี่ยนไปเป็นไปตามแนวทางที่หัวหน้างานต้อง การ พฤติกรรมย่อมนำไปสู่ผลลัพธ์หรือเป้าหมายการทำงานของพนักงาน ซึ่งองค์การหลายแห่งมักกำหนดตัวชี้วัดผลงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) เป็นตัววัดผลงานของพนักงานรายบุคคล (Individual KPs) และเมื่อเป้าหมายหรือผลลัพธ์ของพนักงานประสบผลสำเร็จ ย่อมส่งผลต่อเป้าหมายหรือผลลัพธ์ของหน่วยงาน (Department KPIs) และองค์การ (Corporate KPIs) ในที่สุด


คำถาม 7

ผู้บริหารสามารถประยุกต์ใช้ IDP ในการทำงานให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร

คำตอบ 7

     IDP เป็นแผนการพัฒนาความสามารถของพนักงาน  ถือว่าเป็นกรอบหรือแนวทางที่ช่วยให้ผู้บริหารมีเครื่องมือในการพัฒนาความ สามารถของพนักงานในปัจจุบัน ดังนั้นองค์การหลายแห่งจึงประยุกต์ใช้แผนงานดังกล่าวนี้กับระบบการฝึกอบรม และพัฒนา (Training and Development) โดยการนำมาใช้เป็นแนวทางการกำหนดหลักสูตรฝึกอบรม พร้อมทั้งเครื่องมือการพัฒนาความสามารถของพนักงานด้วยวิธีการอื่น ๆ เช่น สอนงาน หรือการทำ OJT เป็นต้น

      นอกจากนำ IDP มาใช้ในการฝึกอบรมและพัฒนาแล้ว  องค์การสามารถนำ IDP มาใช้ควบคู่ไปกับระบบงาน HR ในเรื่องต่างๆ ได้แก่
- การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน (Performance Appraisal) – IDP ถูกกำหนดเป็นปัจจัยหรือเงื่อนไขในการประเมินผลการปฏิบัติงาน องค์การบางแห่งกำหนดเป็น KPIs ถือเป็นแผนงานหนึ่งที่ผู้บริหารจะต้องทำให้สำเร็จ และยังสามารถนำมาใช้กำหนดเป็นพฤติกรรมการดูแลเอาใจใส่ของหัวหน้างานในการ พัฒนาความสามารถของพนักงานได้อีกด้วย
- การจัดทำผังความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) – IDP ถูกกำหนดขึ้นเป็นแนวทางในการพัฒนาพนักงานก่อนเลื่อนตำแหน่งงาน (Promotion) และ/หรือใช้เป็นแนวทางการพัฒนาความสามารถของพนักงานก่อนการโอนย้ายงาน (Job Transfer) อย่างน้อย ๆ ช่วยทำให้พนักงานเกิดความมั่นใจในการทำงานที่ต้องรับผิดชอบมากขึ้นหรือ ลักษณะงานที่เปลี่ยนแปลงไป
- การจัดทำแผนสืบทอดตำแหน่งงาน (Succession Planning) – IDP เป็นแผนงานที่ช่วยพัฒนาความสามารถของบุคคลที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ สืบทอดตำแหน่งงาน (Successors) เพื่อเตรียมความในการทำงานให้กับผู้สืบทอดตำแหน่งงานก่อนที่จะได้รับการ เลื่อนตำแหน่งงานที่สูงขึ้น
- การบริหารพนักงานดาวเด่น (Talent Management) – เนื่องจากพนักงานดาวเด่นต้องการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง บุคคลเหล่านี้จะรู้สึกเบื่อหากไม่ได้รับการพัฒนาจากหัวหน้างาน ดังนั้น IDP สามารถใช้เป็นกรอบหรือแนวทางการพัฒนาความสามารถของพนักงานดาวเด่น เป็นข้อตกลงในการเรียนรู้ (Learning Agreement) ร่วมกันระหว่างหัวหน้างานและพนักงานดาวเด่น
- การสร้างวัฒนธรรมองค์การ (Corporate Culture) – IDP เป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงาน และเมื่อพนักงานมีพฤติกรรมที่ดีตามแบบที่องค์การคาดหวังไว้ พฤติกรรมเหล่านี้ย่อมได้รับการสืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง อันส่งผลให้เกิดการสืบทอดพฤติกรรมที่ดีเหล่านี้ให้เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอและ ต่อเนื่อง
- การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) –  KM คือการบริหารองค์ความรู้ให้เกิดขึ้น ซึ่ง IDP เป็นเรื่องของการพัฒนาให้พนักงานเกิดการเรียนรู้ขึ้น เป็นแผนงานให้พนักงานเกิดการพัฒนาความรู้ในตนเอง (Tacit Knowledge) อันนำไปสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพนักงานคนอื่น ๆ ผ่านช่องทางการเรียนรู้ เช่น กิจกรรม หรือการประชุม เป็นต้น


คำถาม 8

การประเมินผลความสำเร็จของ IDP ที่มีประสิทธิภาพทำได้อย่างไร

คำตอบ 8

ความสำเร็จของ IDP สามารถวัดได้จาก
-  พฤติกรรมการทำงานของพนักงาน - หัวหน้างานจะต้องทำหน้าที่สังเกตพฤติกรรมของพนักงานว่าเป็นไปตามที่หัวหน้า งานคาดหวังหรือไม่ภายหลังจากที่หัวหน้างานปฏิบัติตาม IDP ที่กำหนดขึ้น ทั้งนี้แผนงานดังกล่าวนี้จะสำเร็จลงได้ หัวหน้างานจะต้องกำหนดพฤติกรรมให้เฉพาะเจาะจงว่าต้องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของพนักงานในเรื่องใด เพื่อนำมาใช้กรอบในการประเมินความสำร็จว่าพนักงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นั้นหรือไม่
- ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับองค์การ – ปัจจัยเรื่องผลลัพธ์หรือ KPIs เป็นอีกตัวแปรที่หัวหน้างานสามารถประเมินความสำเร็จของ IDP ได้ หัวหน้างานจะต้องมีความเชื่อพื้นฐานก่อนว่า   “พฤติกรรมที่ดีจะนำไปสู่ผลลัพธ์ที่หัวหน้างานต้องการ” ดังนั้นหากพนักงานมีการเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองแล้ว พฤติกรรมนั้นย่อมส่งผลต่อความสำเร็จของ KPIs ที่พนักงานรับผิดชอบ


คำถาม 9

การเชื่อมโยงระหว่าง Competency , IDP, Career Path และ Succession Planning ทำได้อย่างไร

คำตอบ 9

Competency หมายถึงความสามารถของพนักงาน ถือได้ว่าเป็นกรอบหรือแนวทางในการประเมินว่าพนักงานมีความสามารถตรงตามที่ องค์การคาดหวังหรือไม่ ทั้งนี้ IDP จะใช้เป็นกรอบหรือแนวทางพัฒนาความสามารถของพนักงานให้เป็นไปตามที่หัวหน้า งานคาดหวังให้เกิดขึ้น  โดยส่วนใหญ่ IDP มักจะนำมาใช้ในการพัฒนาหรือเตรียมความพร้อมของพนักงานให้มีความพร้อมก่อนการ เลื่อนตำแหน่งงานหรือการโอนย้ายพนักงาน ซึ่งแนวคิดการเลื่อนตำแหน่งและการโอนย้ายงานนั้นถือได้ว่าเป็นการจัดวางความ ก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ให้กับพนักงาน รวมไปถึงการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาผู้สืบทอดตำแหน่งงานภายหลังจากที่ กำหนดได้แล้วว่าใครควรจะเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งงานในระดับที่สูงขึ้น (Succession Planning)


คำถาม 10

กรณีที่องค์การยังไม่มี Competency องค์การสามารถทำ IDP ให้กับพนักงานได้หรือไม่

คำตอบ 10

ได้อย่างแน่นอน ผู้บริหารสามารถนำคุณสมบัติที่กำหนดขึ้นของตำแหน่งงานในใบพรรณาหน้าที่งาน (Job Description: JD) มาใช้เป็นกรอบหรือแนวทางการประเมินพนักงานแต่ละคน เพื่อประเมินว่าพนักงานมีจุดแข็งและจุดอ่อนข้อใดตามปัจจัยที่กำหนดขึ้นใน JD หรือองค์การบางแห่งสามารถนำผลจากการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ จัดทำขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยนำปัจจัยประเมินในเรื่องพฤติกรรมการทำงานของพนักงานมาใช้เป็นกรอบหรือแนว ทางการพัฒนาการทำงานของพนักงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งปัจจัยข้อที่พนักงานต้องปรับปรุงหรือไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ปัจจัยข้อนั้นจะต้องถูกนำมาพัฒนาก่อน 


คำถาม 11

การประเมินช่องว่างความสามารถ (Gap Assessment) จะมั่นใจได้อย่างไรว่าผู้ประเมินไม่มีอคติในการประเมินพนักงานแต่ละคน

คำตอบ 11

การ ประเมินช่องว่างความสามารถของพนักงานเป็นหน้าที่ของหัวหน้างานแต่ละคนที่ ต้องสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของพนักงานว่ามีความถี่ในการแสดงพฤติกรรมนั้น บ่อยครั้งแค่ไหน  และพฤติกรรมนั้นจะต้องถูกประเมินตามช่วงเวลาที่กำหนดขึ้น เช่น ประเมินพฤติกรรมของพนักงานตั้งแต่มกราคมถึงธันวาคม ปี 2551 โดยหัวหน้างานจะเป็นผู้ที่ตัดสินใจว่าพฤติกรรมข้อใดเป็นจุดแข็งและจุดอ่อน ของพนักงาน อย่างไรก็ตามองค์การไม่สามารถหลีกเลี่ยงอคติที่เกิดขึ้นจากการประเมินของหัว หน้างานได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ ดังนั้นองค์การจะต้องมีขั้นตอนรองรับเพื่อตรวจสอผลประเมินของพนักงาน โดยการนำผลประเมินเข้าสู่คณะกรรมการพิจารณาว่ามีความเป็นธรรมหรือไม่ โดยสามารถเลือกตรวจสอบเฉพาะบางกลุ่มบุคคลที่สำคัญก่อน  เช่น ตรวจสอบผลการประเมินของพนักงานเฉพาะพนักงานดาวเด่น และหากพบว่าหัวหน้างานเกิดอคติในการประเมินแล้ว ฝ่าย HR/HRD จะต้องประชุมร่วมกับหัวหน้างานคนนั้น และชี้แจงเหตุผลความจำเป็นในการประเมิน เพราะผลประเมินความสามารถของพนักงานจะนำไปสู่การจัดทำ IDP ให้กับพนักงานมากกว่าการลงโทษพนักงาน


คำถาม 12

จะต้องใช้กำลังคนในการจัดทำ IDP มากน้อยแค่ไหน

คำตอบ 12

พบว่ากำลังคนที่มีส่วนร่วมในการจัดทำ IDP ได้แก่

  • ฝ่าย HR/HRD ประมาณ 2-3 คน ทำหน้าที่เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมการ IDP ซึ่งผู้บริหารของหน่วยงาน HR/HRD จะต้องทำหน้าที่ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับ IDP ในระหว่างการประชุม และมีเจ้าหน้าที่ HR/HRD ประมาณ 1-2 คน ทำหน้าที่เตรียมเอกสาร ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการและหัวหน้างาน
  • ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงาน ประมาณ ไม่เกิน 10 ตนเพื่อเข้าร่วมป็นคณะกรรมการ IDP มีหน้าที่กำหนดนโยบาย  ขั้นตอนการจัดทำ IDP รวมถึงการติดตาม ตรวจสอบและปรับปรุง IDP ที่นำมาใช้ในองคืการ
  • หัวหน้างาน ตามจำนวนที่มีอยู่ขององค์การแต่ละแห่ง ทำหน้าที่ในการประเมินความสามารถของพนักงาน และจัดทำ IDP ให้กับพนักงานแต่ละคน

คำถาม 13

IDP ควรทำกับพนักงานกับกลุ่มคนใดก่อนอันดับแรก

คำตอบ 13

     จริงๆ แล้ว IDP สามารถนำมาใช้พัฒนาความสามารถของพนักงานได้ทุกคน ความต่างกันของ IDP ในการพัฒนาพนักงานแต่ละคน ขึ้นอยู่กับความลึกหรือความเข้มข้นของเครื่องมือการพัฒนาความสามารถของ พนักงาน หากกำหนดแผนดังกล่าวให้กับพนักงานดาวเด่น เครื่องมือการพัฒนาจะต้องเข้มข้น หัวหน้างานจะต้องใส่ใจกับการติดตามผลหลังจากการพัฒนาความสามารถของพนักงาน โดยมอบหมายให้พนักงานจัดทำสรุปรายงาน หรือนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้มาแลกเปลี่ยนให้กับพนักงานคนอื่นๆ ได้รับรู้ร่วมกัน

      อย่างไรก็ตามหากผู้บริหารมีพนักงานจำนวนมาก ผู้บริหารสามารถเลือกจัดทำ IDP กับพนักงานบางกลุ่มก่อนได้ เช่น พนักงานดาวเด่น หรือผู้สืบทอดตำแหน่งงาน หรือหัวหน้างาน ซึ่งผู้บริหารสามารถเลือกเครื่องมือการพัฒนาความสามารถของบุคคลเหล่านี้ตาม ความเหมาะสมของเวลาที่มีให้กับพนักงานแต่ละคน


คำถาม 14

มีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องมือ IDP, BSC, KPIs และ Core Competency อย่างไร

คำตอบ 4

IDP เป็นแผนงานพัฒนาความสามารถของพนักงาน และความสามารถด้านหนึ่งที่องค์การคาดหวังจากพนักงานคือ ความสามารถหลัก (Core Competency) เป็นพฤติกรรมหลักที่ต้องการให้พนักงานมีเหมือนกัน อย่างไรก็ตามในการทำงานปัจจุบันพนักงานอาจไม่มีพฤติกรรมหลักตามที่องค์การ คาดหวัง  IDP จึงเป็นแผนงานที่ช่วยเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงานให้เป็นไปตามที่หัวหน้างาน คาดหวัง ซึ่งพฤติกรรมการทำงานของพนักงานจะส่งผลต่อเป้าหมายหรือผลลัพธ์ของพนักงาน (Individual KPIs) และผลลัพธ์ของพนักงานแต่ละคนจะส่งผลต่อผลลัพธ์ของหน่วยงานและองค์การ ทั้งนี้การวัดผลลัพธ์ของหน่วยงานและองค์การนั้นสามารถนำหลัก Balance Scorecard มาใช้เป็นปัจจัยความสำเร็จของหน่วยงานและองค์การ โดยแบ่งเป็นมุมมองทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และพัฒนา ซึ่งในมุมมองแต่ละด้านจะมี KPIs เป็นปัจจัยที่ใช้ผลลัพธ์ความสำเร็จของมุมมองแต่ละด้าน

 
ลงประกาศข่าวฟรี
สามารถส่งข่าว และโพสประกาศงานฟรี ได้โดย คลิกทีนี่ เพื่อฝากประชาสัมพันธ์ข่าวโรงแรม และข่าวอื่นๆ ฟรี (รวมโพสงานแบบโพสเตอร์) 
 
Statistics Visitor
2646Online
96Today
132Yesterday
1,144Month
4,760Last month
3,458,200Visitor
free counters
 
สถิติสมาชิก
ประวัติผู้สมัคร81,142
บริษัทสมาชิกพิเศษ1,665
บริษัทสมาชิกทั่วไป5,814
ตำแหน่งงาน11,401
 
Appointment News


เครือโรงแรมไทย ไปไกลทั่วโลก
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวสารธุรกิจบริการ


BLOCKCHAIN เทคโนโลยีปฏิวัติธุรกิจโรงแรม
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวอื่นๆ


กรมธนารักษ์จ่อนำบ้านโบราณกว่า 200 หลัง
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวสารท่องเที่ยวและทัวร์


สถานการณ์ ท่องเที่ยวไทย ต้นปี 2562
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวร้านอาหารและอาหารแนะนำ


SUBWAY - The Nine center Rama 9
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวสารธุรกิจสปา


เอโฟเรีย สปา ณ ฮิลตัน พัทยา ได้รับ 2 รางวัลชนะเลิศ
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวสารธุรกิจการบิน


ลุ้นทางรอด "4หุ้นการบิน" ปรับทัพธุรกิจพยุงฐานะ
ข่าวทั้งหมด
 
ข่าวแด่นวันนี้


เครือโรงแรมไทย ไปไกลทั่วโลก
ข่าวทั้งหมด
 
โรงแรมรีสอร์ททั่วโลก


เซ็นทาราแกร่ง ลงนามบริหารโรงแรมเพิ่ม 2 แห่งในกาตาร
ข่าวทั้งหมด
 
ซื้อขายโรงแรม และ ขายที่ดิน-


ขายรีสอร์ท 178 ห้อง รวมที่ 109 ไร่
ข่าวทั้งหมด
 
วิดีทัศน์อบรมงานบริการ


วีดีโอวิธ๊ทำความสะอาดห้องพัก
ข่าวทั้งหมด
 
โรงแรมพิเศษและแปลก


โรงแรมแห่งอนาคต
ข่าวทั้งหมด
 
โปรโมชั่นพิเศษ!!


โปรโมชั่นพิเศษ ฉลองครบรอบ 4 ปี กับอมารี หัวหิน ในเ
ข่าวทั้งหมด
www.phuketjob.in.th
www.thaihoteljob.com/thaihoteljob/html/service.php
www.thaihoteljob.com/thaihoteljob/upload/files/File_138.pdf

 
www.thaihoteljob.com/thaihoteljob/upload/files/File_138.pdf

หน้าหลัก | ค้นหาตำแหน่ง | ค้นหาผู้สมัคร | ข่าวน่ารู้ | เกร็ดน่ารู้ | ลิ้งน่ารู้ | อัตราค่าบริการ | ติดต่อ

THAIHOSPITALITYJOBS.com / JOBTHAIHOTEL.com / THAIHOTELJOB.com : Thailand Hospitality Jobs online Services Since 2005 © Copyright 2005-2020, Power by: HRC Consultant Co., Ltd.

E-Commerce: 0807314801307, E-mail: admin@hrc.co.th Visit us: www.HRC.co.th Call Center: 08-3522 2235 (08.30 a.m.-08.00 p.m.)

Counter No. Since Jan 1, 2005. Now User Online Persons